วันพฤหัสบดีที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2563

การสรุปผลและการเผยแพร่ผลงาน

 หลังจากการพัฒนาโครงงานเสร็จสมบูรณ์แล้ว ผู้พัฒนาควรเขียนรายงานโครงงานและเผยแพร่ผลงาน ซึ่งมีรูปแบบอ่านและหัวข้อที่สำคัญดังนี้ 1. การเขียนรา 
อ่านเพิ่มเติม




การดำเนินงาน

 ในขั้นตอนการดำเนินงาน จะเป็นขั้นตอนที่ต้องพัฒนาชิ้นงาน หรือดำเนินกิจกรรมเพื่อให้ได้งานสำหรับส่งมอบ โดยขั้นตอนการพัฒนา แบ่งออกได้
เป็น 3 ขั้นตอนดังนี้ 1. การเตรีอ่านเพิ่มเติม




การวางแผนและออกแบบโครงการ

 หลังจากกำหนดวัตถุประสงค์ ขอบเขต และแนวทางในการพัฒนาโครงงานแล้ว ควรวางแผนการพัฒนาโครงงานตามขั้นตอนต่างๆ ให้รอบ

อ่านเพิ่มเติม


การศึกษาและกำหนดขอบเขตของปัญหา

 การพัฒนาโครงงาน ควรศึกษาที่มาและความสำคัญของโครงงาน ว่าโครงงานนั้นแก้ปัญหาอะไร ได้ประโยชน์อย่างไร กับใครบ้าง หลังจากนั้นควรระบุวัตถุประสงค์ในการพัฒนาโครงงานให้ชัดเจน ว่าต้องการพัฒนาอ

อ่านเพิ่มเติม



การกำหนดปัญหา

การพัฒนาโครงงานเป็นกิจกรรมที่เริ่มจากการศึกษาสิ่งที่นักเรียนสนใจ จากนั้นดำเนินการออกแบบ วางแผน ลงมือปฏิบัติจนเกิดผลลัพธ์ และเผยแพร่ผลงานนั้น ซึ่งนักเรียนจะเกิดการเรียนรู้และเข้าใจในสิ่งที่สนใจอย่าง

อ่านเพิ่มเติม



วันพฤหัสบดีที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2563

การจัดเรียงและการค้นหาข้อมูล

การจัดเรียงและค้นหาข้อมูล
ในบทเรียนนี้จะได้เรียนรู้กับขั้นตอนวิธีพื้นฐานในการจัดเรียงข้อมูล (Sort) และการค้นหาข้อมูล (Search) ซึ่งเป็นกิจกรรมที่สัมพันธ์กันที่ใช้ในการแก้ปัญหาที่พบบ่อยในชีวิตประจำวัน

การจัดเรียงข้อมูล
การจัดเรียงข้อมูลเป็นสิ่งที่พบอยู่เสมอ เมื่อต้องการประมวลผลข้อมูลเป็นจำนวนมาก เช่น ครูตรวจข้อสอบของนักเรียน และต้องการบันทึกคะแนนลงสมุดบันทึกคะแนนนักเรียนที่มีการเรียงเลขที่เอาไว้ การเรียงลำดับข้อมูลด้วยเงื่อนไขที่เหมาะสมจะทำให้การค้นหาข้อมูลทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ตัวอย่างสถานการณ์
ให้เรียงลำดับตัวเลขในตารางด้านล่างนี้ จากน้อยไปหามาก
การจัดเรียงแบบเลือก (Selection sort)
การเรียงลำดับแบบเลือก เป็นขั้นตอนวิธีการเรียงลำดับอย่างง่ายโดยใช้วิธีการเปรียบเทียบ ทำงานโดยการหาค่าเหมาะสมที่สุด (ค่ามากสุดหรือน้อยสุด) ที่อยู่ในรายการส่วนที่ยังไม่เรียงและนำค่าเหมาะที่สุดนั้นมาต่อท้ายของส่วนที่เรียงแล้ว

2. การเรียงลำดับแบบแทรก (Insertion sort)
การเรียงลำดับแบบแทรก เป็นขั้นตอนวิธีการเรียงลำดับอย่างง่าย ทำงานโดยจะแบ่งข้อมูลในรายการเป็นสองส่วนคือส่วนที่เรียงแล้วและส่วนที่ยังไม่เรียง แน่นอนว่าในตอนเริ่มแรกส่วนที่เรียงแล้วก็จะมีอย่างน้อยหนึ่งตัว และจะเริ่มหยิบข้อมูลตัวหนึ่งของส่วนที่ยังไม่เรียงมาเปรียบเทียบเพื่อหาตำแหน่งที่เหมาะสมในการแทรกลงในข้อมูลส่วนที่เรียงแล้ว ลักษณะเดียวกับการเรียงไพ่ในมือ ดังนั้นการเรียงลำดับแบบแทรกจึงไม่เหมาะในการทำงาน ในรายการที่มีจำนวนสมาชิกมาก ๆ


การทำซ้ำ

 การทำซ้ำ

      ในการทำงานบางครั้งย่อมมีการทำงานรูปแบบเดียวกันซ้ำๆ หลายรอบ ซึ่งลักษณะการทำซ้ำ เช่น การทำซ้ำในรายการ การทำซ้ำด้วยเงื่อนไข

การทำซ้ำในรายการ

การทำซ้ำในรายการจะพิจารณาข้อมูลในรายการทีละตัวจนครบทุกรายการโดยมีรูปแบบการพิจารณาคือ
1. ให้ตัวแปร x แทนข้อมูลท่ีพิจารณาอยู่
2. ประมวลผลตัวแปร x

ตัวอย่างการทำซ้ำในรายการ
      ถ้านักเรียนมีเงิน M บาท และมีรายการราคาสินค้า A สามารถเขียน ขั้นตอนวิธีนับจําานวนสินค้าที่มีราคาไม่เกิน M บาทได้ดังนี้
ขั้นตอนวิธี : หาจํานวนสินค้าที่มีราคาไม่เกิน M บาท
ข้อมูลเข้า : ราคาสินค้าในรายการ A
ข้อมูลออก : จํานวนสินค้าที่มีราคาไม่เกิน M บาท
ให้ตัวแปร count ← 0
พิจารณาข้อมูลราคาสินค้าในรายการ A ทีละจําานวน จนครบ
2.1 ให้ x แทนข้อมูลราคาสินค้าที่พิจารณาอยู่
2.2 ถ้า x น้อยกว่าหรือเท่ากับ M แล้ว
              ให้ count ← count + 1
คืนค่าจําานวนสินค้าเท่ากับ count
การทำซ้ำด้วยเงื่อนไข
   การทำซ้ำแบบมีเงื่อนไขเป็นการทำซ้ำที่มีเงื่อนไขในการหยุดการทำซ้ำ ตัวอย่าง 
    ถ้าต้องการประมาณค่าของรากที่สองของ 10 ที่เป็นทศนิยม 3 ตําแหน่ง เขียนขั้นตอนวิธีได้ ดังนี้
ขั้นตอนวิธี : ประมาณค่ารากที่สองของ 10 ที่เป็นทศนิยม 3 ตําแหน่ง
ข้อมูลเข้า : -
ข้อมูลออก : ค่าประมาณของรากที่สองของ 10 ที่เป็นทศนิยม 3 ตําาแหน่ง
ให้ s ← 0
ให้ a ← 0 (เก็บค่าประมาณที่ดีที่สุด)
ทําซ้ำในขณะที่ s ≤ 10
3.1 ถ้า |s2 - 10| < |a2 - 10| แล้ว a ←s
3.2 s ← s + 0.001
คืนค่า a และจบการทําางาน
จากขั้นตอนวิธีข้างต้นเป็นการทําาซ้ำด้วยเงื่อนไข s ≤ 10 ดังนั้นจะมีการทําาซ้ำในข้อ 3.1 และ 3.2 จนกว่า s จะมีค่ามากกว่า 10



การสรุปผลและการเผยแพร่ผลงาน

 หลังจากการพัฒนาโครงงานเสร็จสมบูรณ์แล้ว ผู้พัฒนาควรเขียนรายงานโครงงานและเผยแพร่ผลงาน ซึ่งมีรูปแบบอ่านและหัวข้อที่สำคัญดังนี้ 1. การเขียนรา  ...